ข้อสอบเรื่องสมบัติขิงธาตุและสารประกอบ

ข้อสอบเรื่องสมบัติของธาตุและสารประกอบ

1.ออกไซด์ของธาตุหมายเลขใดมีสมบัติเป็นกรดและเบสตามลำดับ

 
      1. 2 และ 4                      2. 7 และ 6                       3. 4 และ 3                   4. 3 และ 4


2. ออกไซด์ของธาตุหมายเลขใดมีสมบัติเป็นได้ทั้งกรดและเบส

         1. 1                    2. 3                   3. 4                      4. 6

3. สารประกอบออกไซด์ของธาตุ X มีสูตรอย่างไร
     
         1. XO                          2. XO2                           3. X2O3                      4. X2O

4. สารประกอบคลอไรด์ที่ละลายน้ำได้ทุกตัวคือข้อใดต่อไปนี้

         1. LiCl , CCl4              2. NaCl , NCl3              3. KCl , MaCl2            4. ถูกทุกข้อ

5. สาร LiCl มีจุดเดือด 1350oC และ BCl3 มีจุดเดือด 12.5oC จุดเดือดของสารทั้งสอง แตกต่างกันเพราะ     ทั้งสองสารนี้มีข้อใดต่างกัน
         1. มวลโมเลกุล              2. รูปร่างโมเลกุล           3. ชนิดพันธะเคมี          4. โครงสร้างผลึก

6. สาร CCl4 มีจุดเดือด 76.8oC และ Cl2O มีจุดเดือด 3.8oC จุดเดือดของสารทั้งสอง แตกต่างกันเพราะ     ทั้งสองสารนี้มีข้อใดต่างกัน
        1. มวลโมเลกุล                2. รูปร่างโมเลกุล           3. ชนิดพันธะเคมี           4. โครงสร้างผลึก



7. A เป็นธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกับลิเทียม สมการแสดงปฏิกิริยาระหว่างธาตุ A กับน้า คือข้อ ใดต่อไปนี้
   
    1. 2 A(s) + 2 H2O(l)  2 AOH(aq) + H2 (g)
    2. A(s) + 2 H2O(l)  A(OH)2(aq) + H2 (g)
    3. 2 A(s) + 2 H2O(l)  2 AH(aq) + 2 OH– (g)
    4. A(s) + 2 H2O(l)  AH2(aq) + 2 OH (g)

8. B เป็นธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกับแคลเซียม สมการแสดงปฏิกิริยาระหว่างธาตุ B กับน้า คือ ข้อใดต่อไปนี้
    1. 2 B(s) + 2 H2O(l)  2 BOH(aq) + H2 (g)
    2. B(s) + 2 H2O(l)  B(OH)2(aq) + H2 (g)
    3. 2 B(s) + 2 H2O(l)  2 BH(aq) + 2 OH– (g)
    4. B(s) + 2 H2O(l)  BH2(aq) + 2 OH (g)

9. ผสมสารละลาย SrCl2 กับ Na2CO3 เข้าด้วยกัน จะเกิดตะกอนข้อใดต่อไปนี้
       1. NaCl             2. SrCO3            3. ถูกทั้งข้อ 1. และข้อ 2.              4. ไม่เกิดตะกอน

10. ผสมสารละลาย BaCl2 กับ Na2SO4 เข้าด้วยกัน จะเกิดตะกอนข้อใดต่อไปนี้
       1. NaCl              2. BaSO4            3. ถูกทั้งข้อ 1. และข้อ 2.              4. ไม่เกิดตะกอน

11. ผสมสารละลาย BaCl2 กับ KNO3 เข้าด้วยกัน จะเกิดตะกอนข้อใดต่อไปนี้
         1. KCl         2. Ba(NO3)2           3. ถูกทั้งข้อ 1. และข้อ 2.           4. ไม่เกิดตะกอน

12. เพราะเหตุใดเกลือคาร์บอเนตของธาตุหมู่ II A จึงละลายน้าไม่ได้ แต่เกลือคาร์บอเนตของ ธาตุหมู่ I         A ละลายน้าได้
1. ไอออนของธาตุหมู่ I A มีประจุ +1 แต่ไอออนของธาตุหมู่ II A มีประจุ +2
2. ธาตุหมู่ I A มีขนาดอะตอมใหญ่กว่าธาตุหมู่ II A
3. ธาตุหมู่ I A มีประจุบวกที่นิวเคลียสน้อยกว่าธาตุหมู่ II A
4. ถูกทุกข้อ

13. ปฏิกิริยาต่อไปนี้ มีกี่ข้อที่เกิดขึ้นได้จริง
ก. F2 + 2 Cl–  2 F– + Cl2 ข. Br2 + 2 F–  2 Br– + F2
ค. Cl2 + 2 Br–  2 Cl– + Br2 ง. I2 + 2 Cl–  2 I– + Cl2
จ. Br2 + 2 I–  2 Br– + I2
              1. 2 ข้อ               2. 3                 ข้อ 3. 4 ข้อ                    4. 5 ข้อ


       คำชี้แจง ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ในการตอบคาถาม 2 ข้อถัดไป
สมมติให้ธาตุ A B C D E F G และ H เป็นธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกันของตาราง ธาตุ เรียงลาดับจากหมู่ IA ถึง VIII A ตามลำดับ

14. ธาตุที่มีพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 สูงสุด คือข้อใดต่อไปนี้
              1. A               2. B                   3. G                     4. H

15. ธาตุที่มีอิเล็กโทรเนกาติวิตีต่าสุด คือข้อใดต่อไปนี้
                  1. A                      2. B                        3. G                         4. H

16. สมบัติของไฮโดรเจนข้อใดต่อไปนี้ มีลักษณะคล้ายสมบัติของโลหะหมู่ IA
    1. จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน                       2. การนำไฟฟ้า
    3. ข้อ 1. และข้อ 2.                                       4. ไม่มีข้อที่ถูก

17. สมบัติของไฮโดรเจนข้อใดต่อไปนี้ มีลักษณะคล้ายสมบัติของอโลหะหมู่ VIIA
                 1. จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน                   2. การนำไฟฟ้า
                  3. ข้อ 1. และข้อ 2. ถูก                            4. ไม่มีข้อที่ถูก

18. เหตุใดธาตุแทรนซิชันในคาบเดียวกันจึงมีขนาดอะตอมและค่าพลังงานไอออนไนเซชัน
      ลำดับที่ 1 ใกล้เคียงกัน
1. มีจำนวนระดับพลังงานเท่ากัน
2. จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน
3. อิเล็กตรอนที่เพิ่มขึ้น เพิ่มในระดับพลังงานถัดเข้าไป
4. มีความหนาแน่นสูง


19. สมบัติใดของธาตุแทรนซิชันที่ต่างจากธาตุหมู่ I A
1. การนาความร้อนและไฟฟ้า
2. เสียอิเล็กตรอนเมื่อรวมตัวกับอโลหะ
3. เกิดสารประกอบที่มีเลขออกซิเดชันได้หลายค่า
4. มีพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ต่า

20. เหตุที่ธาตุแทรนซิชันสามารถเกิดสารประกอบที่มีเลขออกซิเดชันได้หลายค่าเพราะ
1. มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาก
2. ทุกธาตุเป็นโลหะ
3. สามารถเสียอิเล็กตรอนในระดับพลังงานถัดเข้าไปได้
4. เวเลนซ์อิเล็กตรอนทุกตัวหลุดได้ง่าย

21. เหตุใดธาตุแทรนซิชันจึงเกิดสารประกอบที่มีธาตุองค์ประกอบเหมือนกันได้หลายชนิด
1. มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาก                            2. มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี้ต่า
3. เวเลนซ์อิเล็กตรอนทุกตัวหลุดได้ง่าย         4. มีเลขออกซิเดชันได้หลายค่า

22. กลุ่มของโลหะใดต่อไปนี้ที่สามารถปรากฏในรูปของไอออนเชิงซ้อนได้ทุกตัว
      1. Co , Cu , Na , Ti                     2. Zn , Mg , V , Fe
      3. Ni , Cr , Al , Mn                     4. Cr , Cu , Fe , Ni

23. โลหะแทรนซิชันในสำรประกอบหรือไอออนต่อไปนี้ มีเลขออกซิเดชันเท่ำใดตำมลำดับ
ก. Na2ZnO2                      ข. CuSO4
ค. [ Ni (CN)4 ]2–               ง. [ Cr (H2O)5 Cl ] SO4
1. +1 , +2 , +1 , +3 2. +2 , +2 , +2 , +3
3. +2 , +2 , +1 , +1 4. +2 , +2 , +1 , +2

24. สมบัติของธาตุกึ่งโลหะข้อใดต่อไปนี้ มีลักษณะคล้ายสมบัติของธาตุโลหะ
1. จุดเดือด จุดหลอมเหลว                                    2. ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี (EN)
3. ค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (EA)                      4. ข้อ 2. และข้อ 3. ถูก

25. สมบัติของธาตุกึ่งโลหะข้อใดต่อไปนี้ มีลักษณะคล้ายสมบัติของธาตุอโลหะ
1. จุดเดือด จุดหลอมเหลว                                    2. ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี (EN)
3. ค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (EA)                       4. ข้อ 2. และข้อ 3. ถูก

26(แนว O-Net) ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการสลายตัวของกลุ่มนิวเคลียสกัมมันตรังสี A คือข้อใด ต่อไปนี้
1. ความต่างศักย์ไฟฟ้า               2. จานวนนิวเคลียส A ที่มีอยู่
3. อุณหภูมิ                                 4. ความเข้มแสง


27(แนว O–net) ข้อใดเป็นสมบัติของรังสีแอลฟำ
1. เป็นนิวเคลียสของอะตอมฮีเลียม                    2. มีประจุเป็นบวก
3. เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ                                  4. ข้อ 1 และ 2 ถูก

28(แนว O–net) รังสีในข้อใดที่มีอานาจในการทะลุทะลวงผ่านเนื้อสารได้มากที่สุด
             1. รังสีเอกซ์                  2. รังสีบีตา                           3. รังสีแกมมา                      4. รังสีแอลฟา
     
29(แนว O-Net) พิจำรณำข้อควำมใดต่อไปนี้ ข้อที่ถูกได้แก่ข้อใดบ้ำง
ก. รังสีแอลฟำมีประจุ +2                     ข. รังสีแอลฟำมีอำนำจทะลุผ่ำนสูงที่สุด
ค. รังสีบีตำมีประจุ –1                           ง. รังสีแกมมำมีอำนำจทะลุผ่ำนต่ำที่สุด
1. ก และ ข                2. ข และ ค                         3. ก และ ค                        4. ก และ ง


30. จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ 27Si
14  X + e 0
1 ถามว่า X คือข้อใดต่อไปนี้
1. 27X
12 2. X 27
13 3. X 27
14 4. X 27
15


31. จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ 66Cu
29  Zn 66
30 + X ถามว่า X คือข้อใดต่อไปนี้
1. อนุภำคโพซิตรอน 2. อนุภำคแอลฟำ 3. รังสีแกมมำ 4. อนุภำคบีตำ
32. 230Th
90 X ถามว่า X คือข้อใดต่อไปนี้
1. 226Ra
88 2. Pa 230
91 3. Pa 226
91 4. Ac 230
89
33. นิวเคลียส 14 C
6 สลายตัวแล้วได้นิวเคลียส N 14
7 รังสีได้จากการสลายตัวของ C 14
6 คือ
รังสีอะไร
1. บีตา                       2. แกมมา                              3. เอกซ์                      4. แอลฟา

34. นิวเคลียส 82
210
Pb สลายตัวสู่ไอโซโทปเสถียร ตามลา ดับดังนี้
210 Pb
82 
β ,  X 
β Y   
α ,  Z
ถามว่า Z คือธาตุในข้อใดต่อไปนี้
1. Tl 2. Pb 3. Bi 4. Po


35. สมการนิวเคลียร์ในข้อใดถูกต้อง
1. 238Cu
92  e 0
Th 1 234
90  2. N 14
7 + He 4
2  H 11
17O
8 
3. 28Al
13  Si 28
14 + He 4
2 4. Pb 210
82  Bi 210
83 + He

36. ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีเวลาครึ่งชีวิต 10 วัน ถ้าเก็บธาตุนั้นจานวน 24000 อะตอม ไว้ 30 วัน จะเหลือธาตุนั้นกี่อะตอม
1. 1500                     2. 3000                                  3. 6000                            4. 12000


37. ไอโอดีน-128 มีค่าครึ่งชีวิต 22 นาที ถ้าเริ่มต้นมีไอโอดีน-128 อยู่ 200 มิลลิกรัม ไอโอดีน-128 จะลดลงเหลือ 50 มิลลิกรัม เมื่อเวลาผ่านไปกี่นาที


38(แนว มช) ไอโอดีน-128 มีครึ่งชีวิต 20 นาที จะใช้เวลานานกี่นาทีจึงจะเหลือไอโอดีน-128 ร้อยละ 12.5 ของจานวนเดิม
1. 40              2. 60                  3. 80                      4. 100

39(แนว O-Net) ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธำตุไอโอดีน-128 มีครึ่งชีวิต 25 นำที ถ้ำมี ไอโอดีน-128 ทั้งหมด 400 กรัม จะใช้เวลำเท่ำไรจึงจะเหลือไอโอดีน-128 อยู่ 50 กรัม
1. 1 ชั่วโมง 15 นำที                      2. 1 ชั่วโมง 30 นำที
3. 1 ชั่วโมง 40 นำที                      4. 3 ชั่วโมง 20 นำที

40. นักโบราณคดีตรวจพบเรือไม้โบราณลาหนึ่งว่ามีอัตราส่วนของปริมาณ C-14 ต่อ C-12 เป็น 12.5% ของอัตราส่วนสาหรับสิ่งที่ยังมีชีวิต สันนิษฐานได้ว่าซากเรือนี้มีอายุ ประมาณกี่ปี
( กาหนดให้ครึ่งของ C-14 มีค่าเท่ากับ 5,730 ปี )
1. 2,865 ปี                 2. 5,730 ปี                     3. 11,460 ปี                      4. 17,190 ปี


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น